วันศุกร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

การพัฒนาแอปพลิเคชั่นบน Android

หลังจากที่เราได้ลองติดตั้งและทดสอบ Emulator ของEclipse  Android SDK กันแล้ว
มาคราวนี้เราจะลอง App ง่ายๆ บน Android กัน ด้วยโปรแกรมพื้นฐานสำหรับทุกการเขียนโปรแกรมอย่าง Hello World
http://img.spacethai.net/images/helloandro.png
เริ่มต้นด้วยการสร้างโปรเจค Android ใน Eclipse
1. เปิดโปรแกรม Eclipse ขึ้นมา จากนั้นเลือกที่ File > New > Project
ในหน้าต่าง New Project ภายใต้ Android เลือก Andrild project ดังรูป หลังจากนั้นให้กด Next
http://img.spacethai.net/images/helloakqk.png
2. เมื่อเสร็จจากขั้นตอนแรกแล้วจะได้ดังรูปนี้ โดยกรอกข้อมูลต่อไปนี้
- Project Name: HelloWorld
- Build Target : Android 2.2
- Application Name: HelloWorld
- Package Name: com.example.hello
- Create Activity: HelloWorld
- Min SDK Version: 8
จากนั้นคลิกที่ Finish
http://img.spacethai.net/images/helloavov.png
นี่คือคำอธิบายของแต่ละฟิลด์:
- Project Name : นี้คือชื่อโปรเจกของ Eclipse – ชื่อของไดเรกทอรีที่จะมีไฟล์โปรเจกอยู่
- Build Target : ได้เลือกใช้ Android 2.2 platform ซึ่งหมายความว่าแอปพลิเคชันของคุณจะถูก compiled กับ Android 2.2 platform library
- Application Name : นี้เป็นชื่อสำหรับแอปพลิเคชันของคุณ – ชื่อที่จะปรากฏในอุปกรณ์ Android
- Package name : นี้คือ namespace แพคเกจ (ตามกฎเดียวกันกับสำหรับแพคเกจในภาษา Java) ถ้าจะเปรียบเทียบให้ง่ายๆก็เหมือนเป็นโฟลเดอร์ที่ทำหน้าที่จัดเก็บ Class ต่างๆ ไว้ให้เป็นหมวดหมู่
- Create Activity : นี้คือชื่อสำหรับ class stub ที่จะสร้างโดยปลั๊กอินนี้ ซึ่งจะเป็น subclass ของ Android’s Activity class
- Min SDK Version : ค่านี้ระบุ API ระดับต่ำสุดที่จำเป็นสำหรับแอปพลิเคชันของคุณ
3. ตอนนี้โปรเจก Android ของคุณพร้อมแล้ว คุณจะมองเห็นใน Package Explorer อยู่ด้านซ้าย คลิกเปิดไฟล์ HelloWorld.java (HelloAndroid > src > com.example.helloworld) ซึ่งควรมีลักษณะเช่นนี้:
package com.example.helloworld;

import android.app.Activity;
import android.os.Bundle;

public class HelloAndroid extends Activity {
    /** Called when the activity is first created. */
    @Override
    public void onCreate(Bundle savedInstanceState) {
        super.onCreate(savedInstanceState);
        setContentView(R.layout.main);
    }
}
 

ประวัติ ความเป็นมา โครงสร้าง android

    ความหมายของ Android
แอนดรอยด์ (อังกฤษ: android
) คือ หุ่นยนต์ที่สร้างขึ้นมาเลียนแบบมนุษย์ โดยปกติแล้วทั้งทางด้านกายภาพและพฤติกรรม คำนี้ผันมาจากคำกรีก andr- หมายถึง "มนุษย์, เพศชาย" และปัจจัยเสริมท้าย -eides ซึ่งเคยมีความหมายว่า "ในสปีชีส์ของ, เหมือนกับ" (จากคำว่า eidos หมายถึง "สปีชีส์")

คำว่า "ดรอยด์" ซึ่งหมายถึงหุ่นยนต์ในเรื่อง สตาร์ วอร์ส ก็ผันมาจากความหมายนี้. จนถึงขณะนี้ แอนดรอยด์ยังคงมีอยู่แต่ในนิยายวิทยาศาสตร์ บ่อยครั้งในภาพยนตร์และโทรทัศน์. อย่างไรก็ตาม หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ก็มีขึ้นบ้างแล้วในขณะนี้.

พจนานุกรมภาษา อังกฤษ Webster ฉบับปี 1913 ระบุว่า "Android" เป็นได้ทั้งคำนามและคำวิเศษณ์ โดยถ้าเป็นคำนาม หมายถึง "เครื่องจักรหรือเครื่องอัตโนมัติในรูปของมนุษย์" และถ้าเป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง "คล้ายมนุษย์"
  โครงสร้างของโปรแกรมประยุกต์ Android จะถูกกำหนดเป็นดังนี้

The file AndroidManifest.xml ไฟล์ที่ AndroidManifest.xml
This defines the components of the application and their relationships. นี้กำหนดองค์ประกอบของโปรแกรมประยุกต์และความสัมพันธ์ของพวกเขา It gives the permissions to application as to what it can do with users. มันจะให้สิทธิ์ในการประยุกต์ใช้เป็นสิ่งที่มันสามารถทำอะไรกับผู้ใช้ It can also give permission to components of the application. นอกจากนี้ยังสามารถให้สิทธิ์กับส่วนประกอบของโปรแกรม

The views (Class android.view.View) มุมมอง (Class android.view.View)
The interface of a program for Android is a tree of views. อินเตอร์เฟซของโปรแกรมสำหรับ Android เป็นต้นไม้ของมุมมอง


Activity (android.app.Activity class) กิจกรรม (ระดับ android.app.Activity)
This is something that the user can do, translated into program. นี่คือสิ่งที่ผู้ใช้สามารถทำการแปลลงในโปรแกรม It corresponds to a screen, but can have multiple views. มันสอดคล้องกับหน้าจอ แต่สามารถมีหลายมุมมอง

Intent (android.content.Intent class) เจตจำนง (ระดับ android.content.Intent)

Describes an action which must be performed. อธิบายถึงการกระทำที่จะต้องทำ

Service (android.app.Service ) เซอร์วิส (android.app.Service)
Program that operates in background. โปรแกรมที่ทำงานในพื้นหลัง

Content Provider (android.content.ContentProvider class) ผู้ให้บริการเนื้อหา (android.content.ContentProvider ชั้น)

Encapsulates data and provides them commonly to several programs. encapsulates ข้อมูลและให้พวกเขามักจะหลายโปรแกรม
Notification (android.app.NotificationManager and android.app.Notification classes) ประกาศ (android.app.NotificationManager และการเรียน android.app.Notification)
Class which informs the user about what is happening. ชั้นเรียนซึ่งแจ้งผู้ใช้เก​​ี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้น

Besides components, there are also resources that can be XML files, image files as jpeg, etc. These use the android.content.Resources interface and are stored in the res directory. นอกจากองค์ประกอบนอกจากนี้ยังมีทรัพยากรที่สามารถไฟล์ XML, ไฟล์ภาพเป็น jpeg, ฯลฯ ใช้อินเตอร์เฟซ android.content.Resources เหล่านี้และจะถูกเก็บไว้ในไดเรกทอรี res

 





วันพฤหัสบดีที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ที่มาของชื่อ Windows 7

Windows 7 (โค้ดเนม Blackcomb และ Vienna) นั้นเป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเดสก์ท็อปตัวใหม่ของไมโครซอฟท์ อาจมีหลายคนที่สงสัยว่าเลข 7 นั้น หมายถึงอะไรหรือมาจากอะไร ซึ่งจากข้อมูลในบล็อกของทีมพัฒนาของไมโครซอฟท์นั้น ตัวเลข 7 นั้นเป็นการนับเวอร์ชันต่อเนื่องจากเวอร์ชันก่อนๆ หน้า

หากมองย้อน กลับไปยังจุดเริ่มต้นของระบบปฏิบัติการวินโดวส์ คิดว่าวินโดวส์เวอร์ชันที่หลายคงรู้จักเป็นเวอร์ชันแรกน่าจะเป็น Windows 3.0 แต่จริงๆ แล้ว ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เวอร์ชันแรกของไมโครซอฟท์คือ 1.0 จากนั้นก็มีการพัฒนาเป็นเวอร์ชัน 2.0 แล้วจึงมาได้รับความนิยมและเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในวินโดวส์ เวอร์ชัน 3.0 หลังจากนั้นไมโครซอฟท์ได้เปลี่ยนไปใช้ชื่อเวอร์ชันแทนการใช้เวอร์ชันแบบตัว เลข คือ Windows NT ซึ่งนับเป็นเวอร์ชัน 3.1 จากนั้นเป็น Windows 95 ซึ่งนับเป็นเวอร์ชัน 4.0 ต่อจากนั้นเป็น Windows 98 และ Windows Millennium Edition ซึ่งยังถือเป็นเวอร์ชัน 4 อยู่ โดย Windows 98 นับเป็นเวอร์ชัน 4.0.1998, Windows 98 SE นับเป็นเวอร์ชัน 4.10.2222 และ Windows Millennium Edition นับเป็นเวอร์ชัน 4.90.3000 (สรุปได้ว่าไมโครซอฟท์นับ Windows 9x เป็นเวอร์ชัน 4.0)ต่อจาก Windows 9x จะเป็น Windows 2000 ซึ่งนับเป็นเวอร์ชัน 5.0 เวอร์ชันถัดมาคือ Windows XP ซึ่งนับเป็นเวอร์ชัน 5.1 และล่าสุดคือ Windows Vista ซึ่งจะนับเป็นเวอร์ชัน 6.0

ดังนั้น เมื่อไมโครซอฟท์วางแผนในการพัฒระบบปฏิบัติการสำหรับเดสก์ท็อปตัวใหม่ต่อจาก Windows Vista จึงตั้งชื่อเป็น Windows 7

อย่าง ไรก็ตาม จากข้อมูลในบล็อกของทีมพัฒนา ถึงแม้ว่าจะใช้ชื่อ Windows 7 แต่หมายเลขเวอร์ชันจริงๆ ของระบบปฏิบัติการวินโดวส์สำหรับเดสก์ท็อปตัวใหม่ของไมโครซอฟท์นี้จะเป็น เวอร์ชัน 6.1 ทั้งนี้ การที่ไมโครซอฟท์ไม่กำหนดเป็นเวอร์ชัน 7.0 เนื่องจากไม่ต้องการให้เกิดความสับสนในด้าน application compatibility ซึ่งเป็นเหตุผลเดียวกันกับการกำหนดหมายเลขเวอร์ชันของ Windows XP เป็นเวอร์ชัน 5.1 แทนที่จะเป็น 6.0